Difference between revisions of "Thai"

From OSGeo
Jump to navigation Jump to search
Line 5: Line 5:
 
การประยุกต์ใช้สารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS)เป็นไปอย่างกว้างขวาง แม้กระทั่งในกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศมักจะนำสารภูมิสนเทศศาสตร์ไปพัฒนาผนวกรวมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการให้ระบบช่วยงานบริหารจัดการและการตัดสินใจเชิงพื้นที่ โดยปัจจุบันระบบภูมิสารสนเทศถูกยอมรับว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการนำไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจและการแก้ปัญหาในหลายด้าน นอกจากนี้ในสภาวะการเจริญเติบโตเทคโนโลยีการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Communication Technology)อย่างรวดเร็ว ยังส่งเสริมให้มีการใช้ภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่าย การใช้ภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่ายช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้ทั้งกลุ่มผู้บริหารจัดการระบบและกลุ่มผู้ใช้ กล่าวคือ ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงระบบได้ตลอดเวลาจากในทุกสถานที่ที่มีเครือข่ายไปถึงโดยสะดวก ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ปลายทางได้หลากหลาย
 
การประยุกต์ใช้สารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS)เป็นไปอย่างกว้างขวาง แม้กระทั่งในกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศมักจะนำสารภูมิสนเทศศาสตร์ไปพัฒนาผนวกรวมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการให้ระบบช่วยงานบริหารจัดการและการตัดสินใจเชิงพื้นที่ โดยปัจจุบันระบบภูมิสารสนเทศถูกยอมรับว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการนำไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจและการแก้ปัญหาในหลายด้าน นอกจากนี้ในสภาวะการเจริญเติบโตเทคโนโลยีการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Communication Technology)อย่างรวดเร็ว ยังส่งเสริมให้มีการใช้ภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่าย การใช้ภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่ายช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้ทั้งกลุ่มผู้บริหารจัดการระบบและกลุ่มผู้ใช้ กล่าวคือ ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงระบบได้ตลอดเวลาจากในทุกสถานที่ที่มีเครือข่ายไปถึงโดยสะดวก ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ปลายทางได้หลากหลาย
  
การนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้งานยังมีข้อจำกัดในด้านของงบประมาณสำหรับการดำเนินการโดยเฉพาะต้นทุนในการซื้อโปรแกรมภูมิสารสนเทศ ทำให้องค์กรขนาดเล็กหรือหน่วยงานที่มีงบประมาณจำกัดไม่สามารถนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้ได้ กลุ่ม OSGeo ในประเทศไทยจึงมุ่งเน้นที่จะส่งเสริม เผยแพร่และพัฒนาโปรแกรมเปิดรหัส(Open Source)สำหรับภูมิสารสนเทศและแหล่งข้อมูลภูมิสารสนเทศฟรีเพื่อให้เกิดการนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆต่อไป
+
การนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้งานยังมีข้อจำกัดในด้านของงบประมาณสำหรับการดำเนินการโดยเฉพาะต้นทุนในการซื้อโปรแกรมภูมิสารสนเทศ ทำให้องค์กรขนาดเล็กหรือหน่วยงานที่มีงบประมาณจำกัดไม่สามารถนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้ได้ กลุ่ม OSGeo ในประเทศไทยจึงมุ่งเน้นที่จะส่งเสริม เผยแพร่และพัฒนาโปรแกรมรหัสเปิด(Open Source)สำหรับภูมิสารสนเทศและแหล่งข้อมูลภูมิสารสนเทศฟรีเพื่อให้เกิดการนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆต่อไป
  
  
 
=== ภาระกิจหลัก ===
 
=== ภาระกิจหลัก ===
  
* เผยแพร่ OSGeo และโปรแกรมเปิดรหัสสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
+
* เผยแพร่ OSGeo และโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
 
* สนับสนุนกิจกรรมของกลุ่ม Open Source Geospatial ในประเทศไทย
 
* สนับสนุนกิจกรรมของกลุ่ม Open Source Geospatial ในประเทศไทย
* พัฒนาเอกสารและคู่มือการใช้งานของโปรแกรมเปิดรหัสสำหรับงานภูมิสารสนเทศในรูปแบบภาษาไทย
+
* พัฒนาเอกสารและคู่มือการใช้งานของโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศในรูปแบบภาษาไทย
* พัฒนาโปรแกรมเปิดรหัสสำหรับงานภูมิสารสนเทศและโมดูลเสริมสำหรับงานและข้อมูลภูมิสารสนเทศที่มีลักษณะเฉพาะของประเทศไทย
+
* พัฒนาโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศและโมดูลเสริมสำหรับงานและข้อมูลภูมิสารสนเทศที่มีลักษณะเฉพาะของประเทศไทย
* จัดฝึกอบรม และจัดทำสื่อการสอนการใช้งานโปรแกรมเปิดรหัสสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
+
* จัดฝึกอบรม และจัดทำสื่อการสอนการใช้งานโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
 
* ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศบนข้อกำหนดมาตรฐาน รวมถึงเผยแพร่การเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลเปิดที่ไม่มีค่าใช้จ่าย
 
* ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศบนข้อกำหนดมาตรฐาน รวมถึงเผยแพร่การเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลเปิดที่ไม่มีค่าใช้จ่าย
  
Line 21: Line 21:
  
 
<b>ด้านการพัฒนา:</b>
 
<b>ด้านการพัฒนา:</b>
* ช่วยพัฒนาโปรแกรมฟรีและเปิดรหัสสำหรับงานภูมิสารสนเทศให้รองรับกับภาษาไทย เช่น GRASS, MapServer เป็นต้น
+
* ช่วยพัฒนาโปรแกรมฟรีและรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศให้รองรับกับภาษาไทย เช่น GRASS, MapServer เป็นต้น
* พัฒนาระบบภูมิสารสนเทศต้นแบบและสาธิตการนำโปรแกรมเปิดรหัสสำหรับงานภูมิสารสนเทศไปใช้งานด้านต่างๆ
+
* พัฒนาระบบภูมิสารสนเทศต้นแบบและสาธิตการนำโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศไปใช้งานด้านต่างๆ
* ปรับปรุงและแจ้งปัญหาที่พบจากการใช้งานโปรแกรมเปิดรหัสสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
+
* ปรับปรุงและแจ้งปัญหาที่พบจากการใช้งานโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
  
 
<b>ด้านแนวคิดและการประยุกต์ใช้:</b>
 
<b>ด้านแนวคิดและการประยุกต์ใช้:</b>
* ให้คำปรึกษาในการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรมเปิดรหัส
+
* ให้คำปรึกษาในการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรมรหัสเปิด
* ส่งเสริมความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชน ตลอดจนสถาบันการศึกษาในการพัฒนาโปรแกรมเปิดรหัสสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
+
* ส่งเสริมความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชน ตลอดจนสถาบันการศึกษาในการพัฒนาโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
  
 
<b>ด้านการจัดกิจกรรม:</b>  
 
<b>ด้านการจัดกิจกรรม:</b>  

Revision as of 23:54, 29 May 2018

Thai Chapter of OSGeo

เกี่ยวกับ Thai OSGeo Chapter

การประยุกต์ใช้สารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS)เป็นไปอย่างกว้างขวาง แม้กระทั่งในกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศมักจะนำสารภูมิสนเทศศาสตร์ไปพัฒนาผนวกรวมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการให้ระบบช่วยงานบริหารจัดการและการตัดสินใจเชิงพื้นที่ โดยปัจจุบันระบบภูมิสารสนเทศถูกยอมรับว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการนำไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจและการแก้ปัญหาในหลายด้าน นอกจากนี้ในสภาวะการเจริญเติบโตเทคโนโลยีการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Communication Technology)อย่างรวดเร็ว ยังส่งเสริมให้มีการใช้ภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่าย การใช้ภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่ายช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้ทั้งกลุ่มผู้บริหารจัดการระบบและกลุ่มผู้ใช้ กล่าวคือ ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงระบบได้ตลอดเวลาจากในทุกสถานที่ที่มีเครือข่ายไปถึงโดยสะดวก ผู้ใช้สามารถใช้อุปกรณ์ปลายทางได้หลากหลาย

การนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้งานยังมีข้อจำกัดในด้านของงบประมาณสำหรับการดำเนินการโดยเฉพาะต้นทุนในการซื้อโปรแกรมภูมิสารสนเทศ ทำให้องค์กรขนาดเล็กหรือหน่วยงานที่มีงบประมาณจำกัดไม่สามารถนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้ได้ กลุ่ม OSGeo ในประเทศไทยจึงมุ่งเน้นที่จะส่งเสริม เผยแพร่และพัฒนาโปรแกรมรหัสเปิด(Open Source)สำหรับภูมิสารสนเทศและแหล่งข้อมูลภูมิสารสนเทศฟรีเพื่อให้เกิดการนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆต่อไป


ภาระกิจหลัก

  • เผยแพร่ OSGeo และโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
  • สนับสนุนกิจกรรมของกลุ่ม Open Source Geospatial ในประเทศไทย
  • พัฒนาเอกสารและคู่มือการใช้งานของโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศในรูปแบบภาษาไทย
  • พัฒนาโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศและโมดูลเสริมสำหรับงานและข้อมูลภูมิสารสนเทศที่มีลักษณะเฉพาะของประเทศไทย
  • จัดฝึกอบรม และจัดทำสื่อการสอนการใช้งานโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
  • ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศบนข้อกำหนดมาตรฐาน รวมถึงเผยแพร่การเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลเปิดที่ไม่มีค่าใช้จ่าย


วัตถุประสงค์

ด้านการพัฒนา:

  • ช่วยพัฒนาโปรแกรมฟรีและรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศให้รองรับกับภาษาไทย เช่น GRASS, MapServer เป็นต้น
  • พัฒนาระบบภูมิสารสนเทศต้นแบบและสาธิตการนำโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศไปใช้งานด้านต่างๆ
  • ปรับปรุงและแจ้งปัญหาที่พบจากการใช้งานโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ

ด้านแนวคิดและการประยุกต์ใช้:

  • ให้คำปรึกษาในการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรมรหัสเปิด
  • ส่งเสริมความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชน ตลอดจนสถาบันการศึกษาในการพัฒนาโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ

ด้านการจัดกิจกรรม:

  • ดำเนินการจัดฝึกอบรมสำหรับ
    • นิสิตนักศึกษาและอาจารย์ที่สนใจและเกี่ยวข้องกับงานด้านภูมิสารสนเทศ
    • เจ้าหน้าที่และประชาชนทั่วไป
  • การจัดบรรยายพิเศษจากผู้เชี่ยวชาญ
  • การสาธิตและจัดกิจกรรมส่งเสริม

การติดต่อสื่อสาร:

  • Twitter Thai OSGeo Group
  • Mailing Lists
  • Wiki
  • Facebook Page

Thai OSGeo Chapter Officers

ผู้แทนกลุ่ม OSGeo ในประเทศไทย
Dr Phisan Santitamnont
Department of Survey Engineering
Chulalongkorn University
Bangkok, Thailand
E-Mail: phisan_chula@yahoo.com

Thai OSGeo Chapter Coordinators
Dr. Sarawut Ninsawat
Remote Sensing and GIS program, ICT Department, Asian Institute of Technology
Pathumthani, Thailand
E-Mail: sarawutn@ait.ac.th

Advisors
Jeff McKenna (jmckenna at gatewaygeomatics dot com)
Gérald Fenoy (gerald dot fenoy at geolabs dot fr)
Venkatesh Raghavan (venka dot osgeo at gmail dot com)
Hirofumi Hayashi (hayashi at apptec dot co dot jp)

Initial Membership

Dr. Sittichai Choosumrong
Geography and Geographic Information Science,
Department of Natural Resources and Environment, Naresuan University
Phitsanulok, Thailand
E-Mail: sittichaic@nu.ac.th

Dr. Kampanart Piyathamrongchai
Geography and Geographic Information Science,
Department of Natural Resources and Environment, Naresuan University
Phitsanulok, Thailand
E-Mail: kampanart@nu.ac.th

Dr. Anujit Vansarochana
Geography and Geographic Information Science,
Department of Natural Resources and Environment, Naresuan University
Phitsanulok, Thailand
E-Mail: AnujitV@nu.ac.th

Dr. Sanit Arunplod
Remote Sensing and GIS program, ICT Department, Asian Institute of Technology
Pathumthani, Thailand
E-Mail: sanit@ait.ac.th

Dr.Ratchaphon Samphutthanon.
Geoinformatics program. Department of Geography.
Chiang Mai Rajabhat University. Chiang Mai, Thailand.
Email: ratchaphon_s@hotmail.com


Mr. Prasong Patheepphoemphong
i-bitz company limited
E-mail: Add Your Name Here

เว็บไซต์เชื่อมโยง