Difference between revisions of "Thai"

From OSGeo
Jump to navigation Jump to search
Line 216: Line 216:
 
อีเมล : prasong.p@i-bitz.co.th<br><br>
 
อีเมล : prasong.p@i-bitz.co.th<br><br>
  
คุณทวีศักดิ์ ตาชัย<br>
+
คุณนายสิทธินันท์ ทองใบ<br>
กรมที่ดิน ประเทศไทย<br>
+
บริษัท InfraPlus จำกัด<br>
อีเมล : taweesak1684@gmail.com<br><br>
+
E-mail: sittinun2th@gmail.com<br><br>
 +
 
 +
ดร. ภัทระ เกียรติเสวี<br>
 +
บริษัท Metamedia Technologies จำกัด<br>
 +
pattara@mm.co.th<br><br>
  
 
== '''เว็บไซต์เชื่อมโยง''' ==
 
== '''เว็บไซต์เชื่อมโยง''' ==

Revision as of 07:34, 24 June 2018

Thai Chapter of OSGeo

About Thai OSGeo Chapter

The application of Geographic Information System (GIS) is widely used even the development of information system usually append GIS into the system. In order to increase efficiency and potentiality of management system and geospatial decision making. Currently, GIS is accepted to be an important tool which use for supporting the decision making and solve many problems. Moreover, in the growth condition of information and communication technology which happened rapidly, it also promote the use of geoinformatics across the network more widespread. The use of geoinformatics across the network contribute to increase efficiency for the system administrations and users that is the users can approach every time and every place where internet is approachable. The users can use the geoinformatics system across many electronics devices.

The use of geoinformatics system also has limitation of budget for performance. Especially, the purchasing cost for geoinformatics program mostly expensive. It effects to the small organization or department which have a confine budget, so they not able to approach for work. OSGeo in Thailand aim to promote, distribute and develop free open source program for Geoinformatics in order to create the use for country development in many ways.

Main Role

  • Distribute OSGeo and open source program for geoinformatics
  • Support activities of open source geoinformatics in Thailand
  • Develop the documents and manuals of open source program for geoinformatics in Thai pattern
  • Develop the open source program for geoinformatics and supplementary module for works and geoinformatics which characteristic is unique in Thailand.
  • Arrange the training and manipulate the using open source program instruction media for geoinformatics works.
  • Promote the geoinformatics accession on standard requirement include distribute the geoinformatics accession from free open source.

Objectives

Development:

  • Develop free program and open source for geoinformatics in order to support Thai language such as GRASS, MapServer etc
  • Develop geoinformatics system prototype and demonstrate the use of open source for geoinformatics works in several ways.
  • Improve and inform the problem which find from the use of open source program for geoinformatics.

Concept and application:

  • Give a counsel in geoinformatics system development by open source.
  • Promote the association between public and individual as well as educational institution in open source development for geoinformatics.

Activities arrangement:

  • Manage the arrangement of training for
    • university students and instructors who interested and related to work in geoinformatics
    • officer and general public
  • Arrange the special explanation from the experts.
  • Demonstrate and arrange the support activities.

Contact:

  • Twitter Thai OSGeo Group
  • Mailing Lists
  • Wiki
  • Facebook Page

Thai OSGeo Chapter Officers

Representative Thai OSGeo Chapter
Dr Phisan Santitamnont
Department of Survey Engineering
Chulalongkorn University
Bangkok, Thailand
E-Mail: phisan_chula@yahoo.com

Thai OSGeo Chapter Secretary
Dr. Sarawut Ninsawat
Remote Sensing and GIS program, ICT Department, Asian Institute of Technology
Pathumthani, Thailand
E-Mail: sarawutn@ait.ac.th

Treasurer
Dr. Anujit Vansarochana
Geography and Geographic Information Science,
Department of Natural Resources and Environment, Naresuan University
Phitsanulok, Thailand
E-Mail: anujitv@nu.ac.th

Advisors
Jeff McKenna (jmckenna at gatewaygeomatics dot com)
Gérald Fenoy (gerald dot fenoy at geolabs dot fr)
Venkatesh Raghavan (venka dot osgeo at gmail dot com)
Hirofumi Hayashi (hayashi at apptec dot co dot jp)
Sanghee Shin (shshin at gaia3d dot com)

Initial Membership

Dr. Sittichai Choosumrong
Geography and Geographic Information Science,
Department of Natural Resources and Environment, Naresuan University
Phitsanulok, Thailand
E-Mail: sittichaic@nu.ac.th

Dr. Kampanart Piyathamrongchai
Geography and Geographic Information Science,
Department of Natural Resources and Environment, Naresuan University
Phitsanulok, Thailand
E-Mail: kampanart@nu.ac.th

Dr. Sanit Arunplod
Remote Sensing and GIS program, ICT Department, Asian Institute of Technology
Pathumthani, Thailand
E-Mail: sanit@ait.ac.th

Dr. Ratchaphon Samphutthanon
Geoinformatics program. Department of Geography.
Chiang Mai Rajabhat University. Chiang Mai, Thailand.
Email: ratchaphon_s@hotmail.com

Dr. Nagon Watanakij
Department of Computer Science, Faculty of Science, Khon Kaen University
nagon@kku.ac.th

Dr. Pipat Reungsang
Department of Computer Science, Faculty of Science, Khon Kaen University
reungsang@kku.ac.th

Mr. Prasong Patheepphoemphong
i-bitz Company Limited
E-mail: prasong.p@i-bitz.co.th

Mr. Sittinun Thongbai
InfraPlus Co.Ltd.
E-mail: sittinun2th@gmail.com

Dr. Pattara Kiattisevi
Metamedia Technologies Co. Ltd.
pattara@mm.co.th


Organization and Government partner

Mr. Taweesak Tachai
Department of Land, Thailand
Email:taweesak1684@gmail.com

เกี่ยวกับ Thai OSGeo Chapter

การประยุกต์ใช้สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เป็นไปอย่างกว้างขวาง แม้กระทั่งในกระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศมักจะนำภูมิสนเทศศาสตร์ไปพัฒนาผนวกรวม ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถของระบบในการช่วยงานบริหารจัดการและการตัดสินใจเชิงพื้นที่ ปัจจุบันระบบภูมิสารสนเทศเป็นที่ยอมรับว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการนำไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจและแก้ปัญหาในหลายด้าน นอกจากนี้ในสภาวะการเจริญเติบโตทางด้านเทคโนโลยีสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Communication Technology) ที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ยังส่งเสริมให้มีการใช้งานภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่ายอย่างแพร่หลายยิ่งขึ้น ซึ่งการใช้ภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่ายมีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้ทั้งกลุ่มผู้บริหารจัดการระบบและกลุ่มผู้ใช้ กล่าวคือ ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงระบบได้ตลอดเวลา และทุกสถานที่ที่สามารถเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้ใช้สามารถใช้บริการภูมิสารสนเทศผ่านเครือข่ายผ่านอุปกรณ์อิเลคทรอนิคได้อย่างหลากหลาย

การนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้งานยังมีข้อจำกัดในด้านของงบประมาณสำหรับการดำเนินการ โดยเฉพาะต้นทุนในการจัดซื้อโปรแกรมภูมิสารสนเทศ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะมีราคาสูง ทำให้องค์กรขนาดเล็กหรือหน่วยงานที่มีงบประมาณจำกัดไม่สามารถนำระบบภูมิสารสนเทศไปใช้งานได้ กลุ่ม OSGeo ในประเทศไทยจึงมุ่งเน้นที่จะส่งเสริม เผยแพร่และพัฒนาโปรแกรมรหัสเปิด (Open Source) สำหรับระบบภูมิสารสนเทศและแหล่งข้อมูลภูมิสารสนเทศฟรีเพื่อให้เกิดการนำไปใช้ในการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ต่อไป

ภาระกิจหลัก

  • เผยแพร่ OSGeo และโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
  • สนับสนุนกิจกรรมของกลุ่ม Open Source Geospatial ในประเทศไทย
  • พัฒนาเอกสารและคู่มือการใช้งานของโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศในรูปแบบภาษาไทย
  • พัฒนาโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศและโมดูลเสริมสำหรับงานและข้อมูลภูมิสารสนเทศที่มีลักษณะเฉพาะของประเทศไทย
  • จัดฝึกอบรม และจัดทำสื่อการสอนการใช้งานโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ
  • ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศบนข้อกำหนดมาตรฐาน รวมถึงเผยแพร่การเข้าถึงข้อมูลภูมิสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลเปิดที่ไม่มีค่าใช้จ่าย

วัตถุประสงค์

ด้านการพัฒนา:

  • ช่วยพัฒนาโปรแกรมฟรีและรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศให้รองรับกับภาษาไทย เช่น GRASS, MapServer เป็นต้น
  • พัฒนาระบบภูมิสารสนเทศต้นแบบและสาธิตการนำโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศไปใช้งานด้านต่างๆ
  • ปรับปรุงและแจ้งปัญหาที่พบจากการใช้งานโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ

ด้านแนวคิดและการประยุกต์ใช้:

  • ให้คำปรึกษาในการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรมรหัสเปิด
  • ส่งเสริมความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชน ตลอดจนสถาบันการศึกษาในการพัฒนาโปรแกรมรหัสเปิดสำหรับงานภูมิสารสนเทศ

ด้านการจัดกิจกรรม:

  • ดำเนินการจัดฝึกอบรมสำหรับ
    • นิสิตนักศึกษาและอาจารย์ที่สนใจและเกี่ยวข้องกับงานด้านภูมิสารสนเทศ
    • เจ้าหน้าที่และประชาชนทั่วไป
  • การจัดบรรยายพิเศษจากผู้เชี่ยวชาญ
  • การสาธิตและจัดกิจกรรมส่งเสริม

การติดต่อสื่อสาร:

  • Twitter Thai OSGeo Group
  • Mailing Lists
  • Wiki
  • Facebook Page

คณะเจ้าหน้าที่ Thai OSGeo

ผู้แทนกลุ่ม OSGeo ในประเทศไทย
ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท์
ภาควิชา วิศวกรรมสำรวจ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
อีเมล : phisan_chula@yahoo.com

ผู้ประสานงานกลุ่ม OSGeo ในประเทศไทย
ดร. ศราวุฒิ นิลสวัสดิ์
ภาควิชา การรับรู้ระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
ปทุมธานี ประเทศไทย
อีเมล : sarawutn@ait.ac.th

ที่ปรึกษา
Jeff McKenna (jmckenna at gatewaygeomatics dot com)
Gérald Fenoy (gerald dot fenoy at geolabs dot fr)
Venkatesh Raghavan (venka dot osgeo at gmail dot com)
Hirofumi Hayashi (hayashi at apptec dot co dot jp)

สมาชิกผู้ก่อตั้ง

ดร. สิทธิชัย ชูสำโรง
ภูมิศาสตร์ และ ภูมิสารสนเทศศาสตร์
ภาควิชาทรัพยากรธรรมาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร
พิษณุโลก ประเทศไทย
อีเมล : sittichaic@nu.ac.th

ดร. กัมปนาท ปิยะธำรงชัย
ภูมิศาสตร์ และ ภูมิสารสนเทศศาสตร์
ภาควิชาทรัพยากรธรรมาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร
พิษณุโลก ประเทศไทย อีเมล : kampanart@nu.ac.th

ดร. อนุชิต วงศาโรจน์
ภูมิศาสตร์ และ ภูมิสารสนเทศศาสตร์
ภาควิชาทรัพยากรธรรมาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร
พิษณุโลก ประเทศไทย
อีเมล : AnujitV@nu.ac.th

ดร. ศานิต อรุณปลอด
ภาควิชา การรับรู้ระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
ปทุมธานี ประเทศไทย
อีเมล : sanit@ait.ac.th

ดร. รัชพล สัมพุทธานนท์
ภาควิชาภูมิศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
เชียงใหม่ ประเทศไทย
อีเมล : ratchaphon_s@hotmail.com

ดร. ณกรณ์ วัฒนากิจ
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อีเมล : nagon@kku.ac.th

ดร. พิพัธน์ เรืองแสง
ภาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อีเมล : reungsang@kku.ac.th

คุณประสงค์ ประทีปเพิ่มพงษ์
บริษัท i-bitz จำกัด
อีเมล : prasong.p@i-bitz.co.th

คุณนายสิทธินันท์ ทองใบ
บริษัท InfraPlus จำกัด
E-mail: sittinun2th@gmail.com

ดร. ภัทระ เกียรติเสวี
บริษัท Metamedia Technologies จำกัด
pattara@mm.co.th

เว็บไซต์เชื่อมโยง